สารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ)
(Concise Encyclopedia of Plants in Thailand)


หมวดตัวอักษร 


Index to botanical names


ค้นหาคำศัพท์
ค้นหาคำศัพท์   

เน่า
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

โคนสมอ
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

ไข่เน่า
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

กะพุน
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

กานน
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

กาสามปีก
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

ตะพรุน
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

ตะพุน
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

ตะพุนทอง
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

ตะพุ่ม
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก



ตีนนก
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนประปรายตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบประกอบมี 3–5 ใบย่อย ก้านใบยาว 3–10 ซม. ก้านใบอ่อนมีปีก ใบย่อยรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 8–15 ซม. ปลายแหลมยาว ก้านใบย่อยสั้น ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านช่อยาว 2–7 ซม. ดอกหนาแน่น ไร้ก้านหรือมีก้านสั้นมาก หลอดกลีบเลี้ยงยาว 4–6 มม. ปลายจักตื้น ๆ ดอกสีม่วงอ่อน หลอดกลีบดอกยาว 2–3 มม. กลีบปากบนแฉกกลม ขนาด 1–1.5 มม. กลีบปากล่างยาว 3–3.5 มม. ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1.5 ซม. อันสั้นยาวประมาณ 1 ซม. โคนก้านมีขน ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8–1.5 ซม. สุกสีดำ

พบที่อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าผลัดใบและไม่ผลัดใบ ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร เปลือกและใบมีสรรพคุณต้านเชื้อแบคทีเรีย แก้ไข้ แก้ปวดท้อง

ชื่อสามัญ  Malayan teak

ชื่ออื่น   กะพุน (จันทบุรี); กานน (ราชบุรี, ประจวบคีรีขันธ์); กาสามปีก (ภาคเหนือ); ไข่เน่า (ลพบุรี, นครราชสีมา); โคนสมอ (ภาคตะวันออก); ตะพรุน (จันทบุรี); ตะพุน, ตะพุนทอง, ตะพุ่ม (ตราด); ตีนนก (ทั่วไป); นน (ภาคใต้); นนเด็น (ปัตตานี); เน่า (ลพบุรี); ลือแม (มาเลย์-นราธิวาส); สมอกานน (ภาคตะวันตกเฉียงใต้); สมอตีนนก (ราชบุรี); สมอตีนเป็ด (ภาคใต้); สมอบ่วง (ภาคกลาง); สมอป่า, สมอหิน (ประจวบคีรีขันธ์); สวองหิน (นครราชสีมา)

ตีนนก: ใบประกอบมี 3–5 ใบย่อย ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงขยายในผล ผลสุกสีดำ (ภาพ: ราชันย์ ภู่มา)

เอกสารอ้างอิง

Chantaranothai, P. (2011). A revision of the genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand. Tropical Natural History 11(2): 91–118.

Chen, S.L. and M.G. Gilbert. (1994). Verbenaceae. In Flora of China Vol. 17: 28, 31.

นน
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

นนเด็น
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

ลือแม
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

สมอกานน
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

สมอตีนเป็ด
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

สมอตีนนก
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

สมอบ่วง
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

สมอป่า
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

สมอหิน
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก

สวองหิน
วันที่ 31 ตุลาคม 2559

Vitex pinnata L.

Lamiaceae

ดูที่ ตีนนก